การจัดการหอยเชอรี่

Back

 

Egg laying

 

 

คำนำ

หอยเชอรี่ หรือมีชื่อเรียกอื่นๆ ได้แก่ หอยโข่งอเมริกาใต้ หอยเป๋าฮื้อน้ำจืด หอยโข่งเหลือง เป็นหอยศัตรูข้าวที่สำคัญยิ่งชนิดหนึ่ง  ซึ่งในปี 2532  องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติได้ประมาณไว้ว่าหอยเชอรี่ทำให้ผลผลิตข้าวในประเทศฟิลลิปปินส์สูญเสียอย่างมหาศาลไปถึง 1 – 40% ของทั้งประเทศ

การจะป้องกันกำจัดศัตรูพืชชนิดนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีฆ่าหอย ซึ่งมีราคาแพงและมีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นๆและตัวผู้ใช้เอง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องเสนอทางเลือกทางอื่นๆเพื่อแนะนำเกษตรกรเพิ่มเติมในการป้องกันกันกำจัดหอยเชอรี่ มีการค้นคว้าทดลองและงานวิจัยใหม่ๆเพื่อที่จะลดการใช้สารฆ่าหอยแบบผิดประเภทดังเช่นที่เคยเป็นอยู่  เรื่องที่จะกล่าวถึงในบทต่อไปจะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับชีววิทยาของหอยเชอรี่ รวมทั้งการจัดการและการป้องกันกำจัดหอยเชอรี่ ที่เกษตรกรสามารถนำไปใช้ได้ในแต่ละแหล่ง
    มีสูตรอาหารใหม่ๆจากหอยเชอรี่มาเพิ่มมากขึ้น โดยการทำเป็นcracker ซึ่งปราศจากกลิ่นรุนแรง  อยู่ได้นาน  สามารถเก็บไว้ใช้เป็นเครื่องปรุงสำเร็จรูปได้กับสูตรอาหารหลายๆชนิด
    หวังว่าความปรารถนานี้จะช่วยเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกรให้เข้าใจธรรมชาติของหอยเชอรี่ การแพร่กระจาย และการป้องกันกำจัดหอยเชอรี่ได้มากขึ้น


ลีโอคาดิโอ เอส. เซบาสเตียน
ผู้อำนวยการ

 


บทนำ

หอยเชอรี่ หรือที่รู้จักกันในชื่ออื่นๆ เช่น หอยโข่งเหลือง หอยโข่งอเมริกาใต้ ซึ่งในประเทศฟิลิปปินส์เรียกโกลเด้น คูฮอล ( Pomacea canaliculata Lamarck )  ถูกนำเข้าสู่ฟิลิปปินส์ระหว่างปี 2525 – 2527  โดยมาจากประเทศในทวีปอเมริกาใต้( บราซิล และ อาร์เจนตินา) โดยผ่านทางประเทศไต้หวัน  เนื้อหอยเชอรี่นับว่ามีคุณค่าทางอาหารสูงสำหรับมนุษย์และสัตว์เลี้ยง จึงเป็นที่สนใจของทั้งภาครัฐและเอกชนที่ต้องการนำเข้ามาเลี้ยงและขยายพันธุ์ต่อไป แต่เพียงไม่กี่ปีหลังจากนั้นก็พบว่า หอยเชอรี่กลายเป็นศัตรูข้าวที่สำคัญไปเสียแล้ว
บริเวณที่มีการปลูกข้าวในฟิลิปปินส์คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 3 ล้านเฮคตาร์ นั้น ถูกหอยเชอรี่ระบาดทำความเสียหายไปถึง 1.2 – 1.6 ล้านเฮคตาร์   ในปี 2533มีการใช้เงินถึง 212ล้านเปโซ เพื่อที่จะป้องกันกำจัดมัน  มีรายงานการระบาดของหอยเชอรี่เป็นครั้งแรกในปี 2529 เมื่อพบว่านาข้าวเขตชลประทาน ของเขต 2 (Cagayan valley) ถูกหอยทำลายอย่างหนัก  และนับแต่นั้นมา นาข้าวแหล่งอื่นๆก็ถูกหอยทำความเสียหายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นเรื่องสำคัญระดับชาติไป


รูปร่างลักษณะหอยเชอรี่

หอยเชอรี่มีชีวิตยืนยาวได้ 2 – 6 ปี และมีความสามารถในการขยายพันธุ์สูง

เปลือกสีน้ำตาล เนื้อสีขาวครีมไปจนเหลืองส้ม

ขนาดขึ้นกับการกินอาหาร

ขนาดที่กัดทำลายต้นข้าวได้มาก เมื่อหอยมีเปลือกสูง 10 มิลลิเมตร(ขนาดเท่าเมล็ดข้าวโพด) ถึง 40 มิลลิเมตร(เท่าลูกปิงปอง)*

หอยเพศเมียจะมีฝาปิดที่เว้าเข้า(a1)  ในตัวผู้จะนูนออกเล็กน้อย(a2)

อบเปลือกหอยตัวเมียที่โตเต็มวัยแล้วจะโค้งเข้าด้านใน(b1)  ในตัวผู้จะโค้งออก(b2)*

ตามการศึกษาของ เดลา ครูซ, อาร์ซี โจชิ, และ เอ อาร์ มาร์ติน

shells


 

ลักษณะการทำลายและความเสียหาย

 

 


Life cycle

วงจรชีวิต

ไข่

 

ลูกหอยและหอยโตเต็มวัย

 

ถิ่นที่อยู่อาศัย 


การกินอาหารและพืชอาศัย 


ศัตรูธรรมชาติและการควบคุมโดยชีววิธี 

 


land preparation

การจัดการหอยเชอรี่

ระหว่างการเตรียมดิน

 

plants
Screens
การกั้นตาข่ายช่วยกันหอยไม่ให้เข้ามาเพิ่มในแปลงนาอีก



ระหว่างการปลูกข้าว

Draining
ระบายน้ำออกจากนาเป็นช่วงๆเพื่อจำกัดไม่ให้หอยเคลื่อนที่หรือกัดกินต้นข้าวได้


Handpicking
ใช้คนเก็บหอยตัวใหญ่ที่เป็ดกินไม่ได้

ภายหลังการเก็บเกี่ยว


 

 

 

 

nการจัดการโดยวิธีผสมผสานตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว 

ก่อนปลูก
ระหว่างฤดูปลูก
หลังปลูก
การเตรียมดิน
ระยะแตกกอ
ตั้งท้อง
ออกรวง
ภายหลังเก็บเกี่ยว
A
B และ C
D
E
 
uปล่อยเป็ด, เก็บหอย, สร้างร่องน้ำ, ใช้ใบพืชใส่ในนาล่อหอยมากิน และ เก็บไข่ไปทำลาย
เก็บหอย, ปล่อยเป็ด, ติดตั้งตาข่าย, ปักหลักไม้รวก และ เก็บทำลายไข่หอย
จัดการระดับน้ำ, เก็บหอย,ใช้พืชล่อ, และเก็บไข่
เก็บหอยตัวใหญ่และไข่หอยไปทำลาย
ปล่อยเป็ดหากินในนาข้าว, ตากดิน



 

ข้อมูลจากงานวิจัย 

การศึกษาของนักวิจัย  เอ็ม เอส เดลา ครูซ , อาร์ซี โจชิ, และ เอ อาร์ มาร์ติน ระหว่างปี 2542 – 2543 ที่ PhilRice เมืองมาลิกายา  ค้นพบว่า

 


คุณค่าทางอาหารของหอยเชอรี่


คุณค่าทางอาหารของเนื้อหอยเชอรี่หนัก 100 กรัม

- พลังงาน 83 แคลอรี่
- โปรตีน 12.2  กรัม
- ไขมัน 0.4 กรัม
- คาร์โบไฮเดรต 6.6 กรัม
- เถ้า 3.2 กรัม
- ฟอสฟอรัส 40 มิลลิกรัม
- โซเดียม 40 มิลลิกรัม
- โปตัสเซียม 17 มิลลิกรัม
- ริโบฟลาวิน B 2   12 มิลลิกรัม
- นิอาซิน 1.8 มิลลิกรัม
- อื่น ๆ ได้แก่ วิตามินซี  ,สังกะสี , ทองแดง, แมงกานีส และไอโอดิน

 


บัญชีสารกำจัดหอยที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับ Fertilizer and Pesticide Authority   เมื่อ 31 มีนาคม 2000

สูตร
สารออกฤทธิ์
ชื่อการค้า
ความเข้มข้น
อัตราการใช้
ระดับความเป็นพิษ*
บริษัท
P
Metaldehyde
Metabait
6% Pellets
60 g/kg
2-4 kg/ha
4-8 kg/ha
4
Agchem Mftg.
Corp.
F
Metaldehyde
Meta Flo
300 g/L
16-20 tbps
/16L water
2

WP
Metaldehyde
Porsnail
74 WP
750 g/kg
10 tbsp/16L
water


G
Metaldehyde
Rescue
10 G
100 g/kg



P
Metaldehyde
SnailKil
6% P
60 g/kg
2-4 kg/ha(T)
4-8 kg/ha(DS)
4

F
Chlorothalonil
Shield
500 g/L

4
Aldiz Inc.
EC
Niclosamide
Bayluscide
250 EC
250 g/L
7-14 tbsp/16L
water
4
Bayer Phils., Inc.
WP

Bayluscide
70 WP
700 g/kg

4

EC
Niclosamide
Hit 250 EC
250 g/L
7-14 tbsp/16L
water
4
Cropking
Chem., Inc.
WP
Niclosamide
Trap 70 WP
700 g/kg
35 g/16L water
4
Dow Agro
Sciences B.V.,
Phils.
PEL
Metaldehyde
Bayonet
6% Pellets
60g/kg
2-4 kg/ha(T)
4-8 kg/ha(DS)
4
Jardine Davies;
Inc.
PEL
Metaldehyde
Stop 6%
Pellets
60 g/kg
2-4 kg/ha(T)
4-8 kg/ha(DS)
4
Leads Agri
Product Corp.
WP
Niclosamide
Archer
50WP
500 g/kg

4
Nichimen Corp.
PEL
Metaldehyde
Ciba Meta
Bait
60 g/kg
2-4 kg/ha(T)
4-8 kg/ha(DS)
4
Novartis Agro
Phils., Inc.
F
Metaldehyde
Meta Flo
600 FL
300 g/L
16-20 tbsp/16L
water
2

P
Tannins,
Glycosides,
Sterols, and
Flavanoids
Kuhol P
245 g/kg
20 kg/ha
4
Pro Green
Phils., Inc.
EC
Niclosamide
Moluxide
250 EC
250g/L
7-14 tbsp/16L
water
4
Transworld
Trdg.

EC - สารละลายน้ำมันเข้มข้น, F - สารผสมแขวนลอยเข้มข้น, G - สารเม็ด, P - สารชนิดผง, PEL - สารอัดเม็ด, WP - สารชนิดผงผสมน้ำ, T - นาดำ, DS - นาหว่าน, tbsp - ช้อนโต๊ะ
*ตามมาตรฐาน WHO องค์การอนามัยโลกแห่งสหประชาชาติ จัดระดับความเป็นพิษของวัตถุมีพิษที่ใช้ในการเกษตร ระดับ 2 – พิษปานกลาง 

 


เอกสารอ้างอิง

 

คำนิยม

ติดต่อขอทราบรายละเอียดได้ที่ :
Crop Protection Division
Philippine Rice Research Institute
Maligaya, Science City of Munos, 3119 Nueva Ecija
Tel. Nos.: (044) 456-0285; -0113 local 227

Published 2001 by the Philippine Rice Research Institute. Readers are
encouraged to reproduce the contents of this bulletin with
acknowledgment.

 

เกี่ยวกับ DA -PhilRice

The Philippine Rice Research Institute (PhilRice) สถาบันวิจัยข้าวแห่งฟิลิปปินส์ เป็นหน่วยงานรัฐบาล ขึ้นอยู่กับกรมเกษตร (Department of Agriculture, DA) จัดอยู่ในอันดับที่ 1061 ตั้งขึ้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2528 และปรับปรุง โดย EO 60 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2529 โดยสร้าง Philrice เพื่อที่จะช่วยพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต เพื่อที่จะให้เกษตรกรผลิตข้าวได้พอเพียงแก่ประชาชน ทั้งประเทศ ซึ่ง Philrice ได้ปฎิบัติงานทั้งวิจัยและทดลอง, สนับสนุนทางเทคโนโลยี และ ให้คำแนะนำด้านนโยบาย โดยใช้ผ่านเครือข่ายรวมถึง 57 หน่วยงาน และศูนย์เมล็ดพันธุ์ 104 แห่ง กระจายอยู่ทั่วประเทศ
แผนการทำงานทั้งหมด รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (1) การทำนาหว่าน (2) การทำนาดำในเขตชลประทาน (3) ข้าวพันธุ์ลูกผสม (4) ข้าวที่เหมาะสำหรับสิ่งแวดล้อมเฉพาะ (5) ระบบไร่นาสวนผสมที่ปลูกข้าวเป็นหลัก (6) ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว (7) นโยบายการการทดลองและคำแนะนำ (8) การเสริมสร้างเทคโนโลยีและพัฒนาการ จากโปรแกรมเหล่านี้ PhilRice ตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนาและเสริมสร้างเทคโนโลยี ซึ่งเป็นรากฐานของ ระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่อาศัย และปัญหาเฉพาะด้าน รวมทั้งผลกำไรที่จะมีต่อเกษตรกรฟิลิปปินส์

 

ติดต่อสอบถาม / เพิ่มเติมรายละเอียด 

 

 

  

Top
Top


http://www.applesnail.net/pestalert